คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6
วิเคราะห์ คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์
ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค33202 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
น้ำหนัก 2.0 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 80 ชั่วโมง / ภาคเรียน
-------------------------------------------------------------------------
ศึกษาพร้อมทั้งฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในเนื้อหาของสาระ ดังนี้
การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยตารางแจกแจงความถี่ การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแผนภาพ ค่าวัดทางสถิติ ได้แก่ ค่ากลางของข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิก ค่าวัดตำแหน่งที่ของข้อมูล ควอไทล์ เดไซด์ เปอร์เซนไทล์ ค่าวัดการกระจายของข้อมูล ค่าวัดการกระจายสัมบูรณ์ และค่าวัดการกระจายสัมพัทธ์ และความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่ ค่ากลาง ตำแหน่งที่และการกระจายของข้อมูล
ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น ความหมายและชนิดของตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง การแจกแจงทวินาม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง การแจกแจงปกติ และการแจกแจงมาตรฐาน
โดยจัดประสบการณ์ให้ผ๔เรียนได้พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสาร และการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสร้าง
การใช้สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี แหล่งข้อมูลและนำประสบการณ์ ตลอดจนทักษะและกระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ มีความรอบคอบและมีวิจารณญาณ
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด
ผลการเรียนรู้รายวิชา “คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6”
1. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูลและแปลความหมายของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ
2. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงเอกรูป การแจกแจงทวินาม การแจกแจงปกติ และนำไปใช้แก้ปัญหา
รวม 2 ผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมาย : มุ่งให้ผู้เรียนสามารถ
บทที่ 1 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
1. สามารถวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยตารางแจกแจงความถี่และแผนภาพ (ฮิสโทแกรม แผนภาพจุด แผนภาพลำต้นและใบ แผนภาพกล่องและแผนภาพการกระจาย) พร้อมทั้งสรุปผลที่ได้จากการนำเสนอข้อมูลด้วยตารางความถี่และแผนภาพข้อมูลแบบต่างๆ
2. หาค่ากลางของข้อมูล (ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม) พร้อมทั้งเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลในการแก้ปัญหา
3. หาค่าวัดการกระจายสัมบูรณ์ (พิสัย พิสัยระหว่างควอไทล์ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวน) และค่าวัดการกระจายสัมพัทธ์ (สัมประสิทธิ์การแปรผัน) พร้อมทั้งเลือกใช้ค่าวัดการกระจายที่เหมาะสมในการอธิบายการกระจายของข้อมูลและใช้ค่าวัดการกระจายมรการแก้ปัญหา
4. หาค่าวัดตำแหน่งที่ของข้อมูล (ควอไทล์ เดไซด์และเปอร์เซนไทล์) พร้อมทั้งใช้ค่าวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลในการแก้ปัญหา
บทที่ 2 ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น
5. จำแนกได้ว่าตัวแปรสุ่มที่กำหนดให้เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง หรือตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง
6. เขียนแสดงการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง
7. หาค่าคาดหมายและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่องพร้อมทั้งในในการแก้ปัญหา
8. ตรวจสอบได้ว่า การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง เป็นการแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่องหรือไม่
9. ใช้ความรู้เกี่ยวกับการแจกแจงทวินามในการแก้ปัญหา
10. หาความน่าจะเป็นที่ตัวแปรสุ่มปกติมีค่าอยู่ในช่วงที่กำหนด
11. ใช้ความรู้เกี่ยวกับการแจกแจงปกติและการแจกแจงปกติมาตรฐานในการแก้ปัญหา
รวม 11 จุดมุ่งหมาย
รายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์
ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค33202 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
น้ำหนัก 2.0 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 80 ชั่วโมง / ภาคเรียน
-------------------------------------------------------------------------
ศึกษาพร้อมทั้งฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในเนื้อหาของสาระ ดังนี้
การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยตารางแจกแจงความถี่ การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแผนภาพ ค่าวัดทางสถิติ ได้แก่ ค่ากลางของข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิก ค่าวัดตำแหน่งที่ของข้อมูล ควอไทล์ เดไซด์ เปอร์เซนไทล์ ค่าวัดการกระจายของข้อมูล ค่าวัดการกระจายสัมบูรณ์ และค่าวัดการกระจายสัมพัทธ์ และความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่ ค่ากลาง ตำแหน่งที่และการกระจายของข้อมูล
ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น ความหมายและชนิดของตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง การแจกแจงทวินาม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง การแจกแจงปกติ และการแจกแจงมาตรฐาน
โดยจัดประสบการณ์ให้ผ๔เรียนได้พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสาร และการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสร้าง
การใช้สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี แหล่งข้อมูลและนำประสบการณ์ ตลอดจนทักษะและกระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ มีความรอบคอบและมีวิจารณญาณ
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด
ผลการเรียนรู้รายวิชา “คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6”
1. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูลและแปลความหมายของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ
2. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงเอกรูป การแจกแจงทวินาม การแจกแจงปกติ และนำไปใช้แก้ปัญหา
รวม 2 ผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมาย : มุ่งให้ผู้เรียนสามารถ
บทที่ 1 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
1. สามารถวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยตารางแจกแจงความถี่และแผนภาพ (ฮิสโทแกรม แผนภาพจุด แผนภาพลำต้นและใบ แผนภาพกล่องและแผนภาพการกระจาย) พร้อมทั้งสรุปผลที่ได้จากการนำเสนอข้อมูลด้วยตารางความถี่และแผนภาพข้อมูลแบบต่างๆ
2. หาค่ากลางของข้อมูล (ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม) พร้อมทั้งเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลในการแก้ปัญหา
3. หาค่าวัดการกระจายสัมบูรณ์ (พิสัย พิสัยระหว่างควอไทล์ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวน) และค่าวัดการกระจายสัมพัทธ์ (สัมประสิทธิ์การแปรผัน) พร้อมทั้งเลือกใช้ค่าวัดการกระจายที่เหมาะสมในการอธิบายการกระจายของข้อมูลและใช้ค่าวัดการกระจายมรการแก้ปัญหา
4. หาค่าวัดตำแหน่งที่ของข้อมูล (ควอไทล์ เดไซด์และเปอร์เซนไทล์) พร้อมทั้งใช้ค่าวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลในการแก้ปัญหา
บทที่ 2 ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น
5. จำแนกได้ว่าตัวแปรสุ่มที่กำหนดให้เป็นตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง หรือตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง
6. เขียนแสดงการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง
7. หาค่าคาดหมายและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่องพร้อมทั้งในในการแก้ปัญหา
8. ตรวจสอบได้ว่า การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง เป็นการแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่องหรือไม่
9. ใช้ความรู้เกี่ยวกับการแจกแจงทวินามในการแก้ปัญหา
10. หาความน่าจะเป็นที่ตัวแปรสุ่มปกติมีค่าอยู่ในช่วงที่กำหนด
11. ใช้ความรู้เกี่ยวกับการแจกแจงปกติและการแจกแจงปกติมาตรฐานในการแก้ปัญหา
รวม 11 จุดมุ่งหมาย